โลกแห่งการค้นหา..เพื่อชีวิต

การเฝ้าระวังอุตสาหกรรมยาสูบในประเทศไทย

การเฝ้าระวัง (Surveillance) เป็นส่วนหนึ่งของมาตรการสำคัญในการควบคุมยาสูบที่ได้รับการแนะนำจากองค์การอนามัยโลกสติ๊กเกอร์แต่งรถ (๑) การเฝ้าระวังอุตสาหกรรมยาสูบไม่ว่าจะเป็นด้านกิจกรรมการตลาดส่งเสริมการขายแบบต่างๆ หรือการแทรกแซงนโยบายสาธารณะในรูปแบบต่างๆ จึงมีความสำคัญอย่างยิ่ง การเฝ้าระวังจะมีประสิทธิภาพดีไปไม่ได้เลยถ้าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องไม่ทราบข้อมูลของอุตสาหกรรมยาสูบในทุกแง่มุม คำว่าอุตสาหกรรมยาสูบ โดยทั่วไปหมายรวมถึงผู้ปลูก ผู้บ่ม ผู้ประกอบการส่งออก-นำเข้า ใบยาสูบ, บริษัทบุหรี่ คือ ผู้ผลิต บุหรี่ หรือimport, supplier เช่น ผู้ผลิตก้นกรอง กลิ่น พิมพ์ซอง เครื่องจักร บริษัทโฆษณา และ สุดท้ายหมายรวมไปถึง ผู้ค้าปลีก ร้านค้าปลีก ระดับต่างๆ อีกด้วย สำหรับในบทความนี้จะเน้นไปในส่วนของข้อมูลบริษัทบุหรี่ในประเทศไทย ซึ่งรวมถึงบริษัทที่ผลิตและบริษัทนำเข้าผลิตภัณฑ์ยาสูบด้วย ปัจจุบันจากข้อมูลจากกรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง พบรายชื่อผู้ผลิตและขายบุหรี่ซิกาแรตในประเทศไทยมีแห่งเดียวคือ โรงงานยาสูบ สังกัดกระทรวงการคลัง ส่วนรายชื่อผู้นำเข้าจากต่างประเทศพบว่ามี ๖ บริษัท ได้แก่ บริษัท ฟิลลิป มอริส (Thailand) จำกัด, บริษัท เจ.ที. international จำกัด, company D.E.S Marketion co LTD., Orient and เอท แฮปพิเนซ ซิกาแรต Company จำกัด, และ บริษัท โกลด์ ซอส อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด(๕) ซึ่งในจำนวนบริษัทผู้นำเข้าทั้งหมด บริษัท ฟิลลิป มอริส (ไทยแลนด์) จำกัด มีส่วนแบ่งการตลาดสูงที่สุด และถ้าเปรียบเทียบส่วนแบ่งการตลาดในรอบ ๔ ปีที่ผ่านมาพบว่า โรงงานยาสูบมีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่ง ตามมาด้วย บริษัท ฟิลลิป มอริส (ไทยแลนด์) จำกัด และ บริษัท บริติชอเมริกัน โทแบคโค (ประเทศไทย) จำกัด ตามลำดับ (รูปที่ ๑)  แนวโน้มส่วนแบ่งการตลาดของบริษัทนำเข้ามีแนวโน้มที่ดีขึ้นเรื่อยๆ สติ๊กเกอร์แต่งรถกระบะ ทั้งนี้เกิดจากความนิยมในบุหรี่ต่างประเทศและแบรนด์ที่มีความนิยมมากกว่า รวมถึงการที่ราคาบุหรี่ที่ผลิตโดยโรงงานยาสูบกับบุหรี่นำเข้าไม่แตกต่างกันมากเนื่องจากภาษีศุลกากรที่ต่ำมาก เนื่องมาจากสาเหตุต่างๆ รวมถึงการแจ้งราคานำเข้าที่ต่ำซึ่งส่วนใหญ่ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูลราคานำเข้าที่แท้จริงได้ นอกจากนี้หลังจากการเปิดเขตการค้าFREEDOOMอาเซียนหรืออาฟต้า (AFTA, ASEAN Free Trade Area) การเก็บภาษีศุลกากรจะต่ำจนเกือบไม่มีเลย ซึ่งน่าจะมีผลให้บุหรี่นำเข้ายิ่งราคาถูกลง  แบรนด์/ยี่ห้อ และ ชนิดบุหรี่ซิกาแรตในประเทศไทย  จากข้อมูลของกรมสรรพสามิตปี พ.ศ.๒๕๕๒ พบว่าปัจจุบันบุหรี่ที่ผลิตโดยโรงงานยาสูบมีทั้งสิ้น ๑๙ ตรา และบุหรี่นำเข้าทั้งสิ้น ๑๐๐ ตรา ซึ่งราคาขายปลีกสูงสุด-ต่ำสุดเท่ากับ ๒๖-๑๐๖ บาทต่อ ๒๐ มวน (๓)    แบรนด์ที่มีส่วนแบ่งการตลาดสูงสุด ๓ อันดับแรกได้แก่ กรองทิพย์ ๙๐ (โรงงานยาผลิตสูบ), แอล แอนด์ เอ็ม (ฟิลลิป มอร์ริส) และ Wonder (โรงงานยาสูบ) ตามลำดับ (รูปที่ ๒) ข้อมูลจาก Euromonitor International Report กล่าวว่าผู้สูบคนไทยนิยมบุหรี่รสเข้มหรือรสมาตรฐาน (standard) โดยที่บุหรี่รสเมนทอลหรือรสอ่อนมีส่วนแบ่งการตลาดประมาณร้อยละ ๑๙ ในปี พ.ศ.๒๕๕๑ อย่างไรก็ตามมีแนวโน้มที่จะได้ส่วนแบ่งการตลาดเพิ่มขึ้นเนื่องมากจากการที่มีผู้สูบแบบครั้งคราวมากขึ้นและคนมีการรับรู้ว่าบุหรี่รสอ่อนมีความปลอดภัยสูงกว่าบุหรี่ทั่วไป ส่วนการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ สติ๊กเกอร์แต่งรถ honda cityในปี พ.ศ.๒๕๕๑-๕๒ ที่ผ่านมา พบว่าโรงงานยาสูบเน้นการออกผลิตภัณฑ์ราคาถูกสำหรับตลาดล่าง ในขณะที่บริษัทบุหรี่นำเข้าเน้นการสร้างความหลากหลายของแบรนด์เพื่อให้กลุ่มผู้หญิงและวัยรุ่นเข้าถึงได้มากขึ้น  (๔)